วันพฤหัสบดีที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2551

ตัวอย่างข้อสอบภาคเช้า

แนวข้อสอบความรู้เกี่ยวกฎหมายการศึกษา ชุดที่ 1

1. พรบ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ 2542 ....ทรงลงพระปรมาภิไธย เมื่อใด
ก. 14 สิงหาคม 2542

ข. 19 สิงหาคม 2542
ค. 20 สิงหาคม

ง. 11 ตุลาคม 2542
2. พรบ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ประกาศใช้ในราชกิจานุเบกษา เมื่อใด
ก. 14 สิงหาคม 2542

ข. 19 สิงหาคม 2542
ค. 20 สิงหาคม 2542

ง. 11 ตุลาคม 2542
3. พรบ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มีผลบังคับใช้เมื่อใด
ก. 14 สิงหาคม 2542

ข. 19 สิงหาคม 2542
ค. 20 สิงหาคม 2542

ง. 11 ตุลาคม 2542
4. พรบ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มีจำนวนกี่หมวด กี่มาตรา
ก. 8 หมวด 78 มาตรา

ข. 8 หมวด 87 มาตรา
ค. 9 หมวด 78 มาตรา

ง. 9 หมวด 87 มาตรา
5. ใคร คือผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
ก. พล.อ. ชวลิต ยงใจยุทธ ข. นายบรรหาร ศิลปะอาชา
ค. นายชวน หลีกภัย ง. พ.ต.ท ทักษิณ ชินวัตร
6. การศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายถึง
ก. การศึกษาก่อนอุดมศึกษา
ข. การศึกษาก่อนระดับประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษา
ค. การศึกษาก่อนระดับประถมศึกษา ประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษา
ข. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข
7. การศึกษาตลอดชีวิต หมายถึง
ก. การศึกษาที่เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนสิ้นชีวิต
ข. การศึกษาก่อนระดับประถมศึกษาจนถึงระดับอุดมศึกษา
ค. การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัย
ง. ถูกทุกข้อ
8. สมศ. คือ
ก. สำนักรับรองมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา
ข. สำนักงานรับรองมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา
ง. สำนักรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
ง. สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
9. บุคลากรทางการศึกษา ไม่ได้หมายถึงใด
ก. ครู
ข. ผู้บริหารสถานศึกษา
ค. ผู้บริหารการศึกษา
ง. เป็นความหมายของคำว่าบุคลกรทางการศึกษาทุกข้อ
10. ผู้รักษาการตาม พรบ.การศึกษาแห่งชาติ 2542 คือ
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ค. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ง. เลขาธิการ กพฐ.
11. รัฐต้องจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานกี่ปี
ก. 9 ปี ข. ไม่น้อยกว่า 9 ปี
ค. 12 ปี ง. ไม่น้อยกว่า 12 ปี
12. การศึกษาสำหรับคนพิการ ดำเนินการ อย่างไร
ก. จัดตั้งแต่แรกเกิด ข. จัดตั้งแต่พบความพิการ
ค. จัดเหมือนกับคนปกติ ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข
13. การศึกษาภาคบังคับ ให้เด็กที่เข้าเรียนต้องมีอายุ….
ก. ย่างเข้าปีที่เจ็ด จนถึง ย่างเข้าปีที่สิบห้า
ข. ย่างเข้าปีที่แปด จนถึง ย่างเข้าปีที่สิบห้า
ค. ย่างเข้าปีที่เจ็ด จนถึง ย่างเข้าปีที่สิบหก
ง. ย่างเข้าปีที่แปด จนถึง ย่างเข้าปีที่สิบหก
14. ครอบครัวที่จะจัดการศึกษาต้องยื่นคำขออนุญาตต่อใคร
ก. ผู้อำนวยการสถานศึกษา ข. สถานศึกษา
ค. ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ง. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
15. ครอบครัวที่จะจัดการศึกษาต้องมีวุฒิการศึกษาอย่างน้อย คือ
ก. มัธยมศึกษาตอนต้น ข. มัธยมศึกษาตอนปลาย
ค. อนุปริญญา ง. ปริญญาตรี
16. ความยืดหยุ่นในการกำหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิธีการจัดการศึกษาและระยะยาว ตรงกับข้อใด
ก. การศึกษาในระบบ ข. การศึกษานอกระบบ
ค. การศึกษาตลอดชีวิต ง. การศึกษาตามอัธยาศัย
17. สถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาได้กี่รูปแบบ
ก. รูปแบบเดียวเท่านั้น
ข. สองรูปแบบเท่านั้น
ค. ทั้งสามรูปแบบ
ง. รูปแบบใดรูปแบบหนึ่งหรือทั้งสามรูปแบบก็ได้
18. คณะกรรมเทียบโอนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานมีจำนวนกี่คน
ก. ไม่เกิน 3 คน ข. ไม่น้อยกว่า 3 คน
ค. ไม่เกิน 5 คน ง. ไม่น้อยกว่า 5 คน
19. การศึกษาในระบบมีกี่ระดับ
ก. 2 ระดับ ข. 3 ระดับ
ค. 4 ระดับ ง. 5 ระดับ
20. ข้อใดไม่ใช่ระดับการศึกษาของการศึกษาในระบบ
ก. การศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา
ข. การศึกษาขั้นพื้นฐาน
ค. การศึกษาระดับอุดมศึกษา
ง. เป็นระดับการศึกษาในระบบทุกข้อ
21. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก. มี 3 ระดับ คือ ก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษา
ข. มี 4 ระดับ คือ ก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษา
ตอนปลาย
ค. มี 3 ระดับ คือ ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และก่อนอุดมศึกษา
ง. มี 5 ระดับ คือ ก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษา
ตอนปลายและระดับอาชีวศึกษา
22. การศึกษาระดับอุดมศึกษา แบ่งระดับตามข้อใด
ก. ต่ำกว่าปริญญาและระดับปริญญา
ข. ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก
ค. ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงและระดับปริญญา
ง. ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก
23. การจัดการศึกษาต้องยึดหลักการใด
ก. ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถ
ข. ผู้เรียนทุกคนมีความพัฒนาตนเองได้
ค. ถือว่าผู้เรียนสำคัญที่สุด ง. ถูกทุกข้อ
24. ในกระบวนการเรียนรู้ สถานศึกษาต้องจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับผู้เรียนด้านใด
ก. ความสนใจ ข. ความถนัด
ค. ความรู้ ง. ถูกทั้ง ก และ ข
25. ข้อใดไม่ใช่การประเมินผู้เรียนตามพรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
ก. พิจารณาจากการพัฒนาผู้เรียน
ข. พิจารณาจากการเวลาเรียน
ค. พิจารณาจากพฤติกรรมและการเข้าร่วมกิจกรรม
ง. พิจารณากระบวนการเรียนการสอน
26. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน( กพฐ.)มีกี่คน
ก. 9 คน ข. 15 คน
ค. 21 คน ง. 27 คน
27. คณะกรรมการเขตพื้นการศึกษามีกี่คน
ก. 9 คน ข. 15 คน
ค. 21 คน ง. 27 คน
28. โรงเรียนมีนักเรียน 300 คน มีคณะกรรมการสถานศึกษากี่คน
ก. 9 คน ข. 15 คน
ค. 21 คน ง. 17 คน
29. ใครคือผู้กำหนดหลักสูตรแกนกลาง
ก. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข. คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
ค. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ง. สถานศึกษา
30. ใครเป็นผู้ที่มีหน้าที่จัดทำสาระของหลักสูตร
ก. คณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน
ข. คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
ค. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ง. สถานศึกษา
31. สาระการเรียนรู้ของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 มีกี่สาระ
ก. 6 สาระ ข. 7 สาระ
ค. 8 สาระ ง. 9 สาระ
32. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานมีการกำหนดหลักสูตรไว้กี่ช่วงชั้น
ก. 2 ช่วงชั้น ข. 3 ช่วงชั้น ค. 4 ช่วงชั้น ง. 5 ช่วงชั้น
33. องค์กรหลักที่เป็นคณะบุคคลในกระทรวงศึกษาธิการที่มีรูปของสภามีกี่องค์กร
ก. 3 องค์กร ข. 4 องค์กร
ค. 5 องค์กร ง. 6 องค์กร
34. ข้อใดไม่ใช่องค์กรหลักที่เป็นคณะบุคคลในรูปของสภาในกระทรวงศึกษาธิการ
ก. สภาการศึกษา
ข. คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ค. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ง. คณะกรรมการการอุดมศึกษา
35. ใครคือ ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก. ผู้อำนวยการสถานศึกษา
ข. ผู้ใหญ่บ้าน
ค. กำนัน
ง. ผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้รับการคัดเลือกตั้งจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
36. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีสิทธิ์ในการจัดการศึกษาได้ในระดับใด
ก. ระดับก่อนประถมศึกษา
ข. ระดับก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา
ค. ระดับก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษา
ง. ทุกระดับ
37. สมศ. เป็นองค์การประเภทใด
ก. องค์การเอกชน
ข. องค์การมหาชน
ค. นิติบุคคลในกำกับของรัฐ
ง. นิติบุคคลในกำกับของกระทรวงศึกษาธิการ
38. หน้าที่ของ สมศ. คือ
ก. พัฒนาเกณฑ์วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก
ข. ประเมินผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ค. กำกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ง. ถูกทั้ง ก และ ข
39. สมศ. ประเมินผลการจัดศึกษาของสถานศึกษา ต้องคำนึงถึงข้อใด
ก. ความมุ่งหมายการจัดการศึกษา
ข. หลักการจัดการศึกษา
ค. แนวการจัดการศึกษา ง. ถูกทุกข้อ
40. การประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษากำหนดให้มีขึ้นอย่างน้อย 1 ครั้งในกี่ปี
ก. 4 ปี ข. 5 ปี
ค. 6 ปี ง. 10 ปี
41. สถานศึกษาต้องประเมินคุณภาพภายนอกครั้งแรกภายในปีใด
ก. พ.ศ. 2546 ข. พ.ศ. 2547
ค. พ.ศ. 2548 ง. พ.ศ. 2549
42. หากผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษาไม่ได้มาตรฐาน สมศ.จะดำเนินการอย่างไร
ก. สมศ. จัดทำข้อเสนอแนะปรับปรุงแก้ไขต่อหน่วยงานต้นสังกัด
ข. สมศ. รายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ค. สมศ. รายงานต่อคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ง. สมศ. รายงานต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
43. ข้อใดคือ องค์กรวิชาชีพครู
ก. คุรุสภา ข. สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ค. สภาวิชาชีพครู ง. ถูกทั้ง ก และ ข
44. คณะกรรมการคุรุสภามีทั้งหมดกี่คน
ก. 15 คน ข. 17 คน
ค. 23 คน ง. 39 คน
45. คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมีทั้งหมดกี่คน
ก. 15 คน ข. 17 คน
ค. 23 คน ง. 29 คน
46. คณะกรรมส่งเสริมสวัสดิภาพและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษามีกี่คน
ก. 15 คน ข. 17 คน
ค. 23 คน ง. 39 คน
47. ผู้ขอรับใบประกอบวิชาชีพครู ต้องมีอายุอย่างต่ำกี่ปี
ก. 18 ปี ข. 20 ปี
ค. 21 ปี ง. 25 ปี
48. สมาชิกคุรุสภามีกี่ประเภท
ก. 1 ประเภท ข. 2 ประเภท
ค. 3 ประเภท ง. 4 ประเภท
49. ข้อใดเป็นประเภทสมาชิคุรุสภา
ก. ประเภทสามัญ ข. ประเภทวิสามัญ
ค. ประเภทสมทบ ง. ถูกทุกข้อ
50. ใครคือ ประธานคณะกรรมการคุรุสภา
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ข. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ค. เลขาธิการคุรุสภา
ง. ผู้ทรงคุณวุฒิที่คณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง
51. ใครเป็น ประธานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิภาพและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ข. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ค. เลขาธิการคุรุสภา
ง. ผู้ทรงคุณวุฒิที่คณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง
52. กระทรวงศึกษาธิการมีกี่ส่วนราชการ
ก. 3 ส่วนราชการ ข. 4 ส่วนราชการ
ค. 5 ส่วนราชการ ง. 6 ส่วนราชการ
53. ข้อใดไม่มีฐานะเป็นนิติบุคคล
ก. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ค. สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ง. สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
54. ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีกี่ประเภท
ก. 2 ประเภท ข. 3 ประเภท
ค. 4 ประเภท ง. 5 ประเภท
55. ข้าราชการครูสายผู้สอนมีกี่วิทยฐานะ
ก. 3 วิทยฐานะ ข. 4 วิทยฐานะ
ค. 5 วิทยฐานะ ง. 6 วิทยฐานะ
56. ก.ค.ศ มีกี่คน
ก. 15 คน ข. 17 คน
ค. 21 คน ง. 23 คน
57. ประธาน ก.ค.ศ. คือใคร
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ค. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ง. เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
58. การแบ่งระดับของการศึกษาขั้นพื้นฐานต้องทำตรากฎหมายใด
ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกฤษฎีกา
ค. กฎกระทรวง ง. ประกาศกระทรวง
59. การศึกษาที่มุ่งวางรากฐานเพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาคุณภาพลักษณะอันพึงประสงค์ทั้งใน
ด้านคุณธรรม จริยธรรม คือ
ก. ก่อนประถมศึกษา ข. ประถมศึกษา
ค. มัธยมศึกษาตอนต้น ง. มัธยมศึกษาตอนปลาย
60. คณะกรรมการเทียบระดับการศึกษามีกี่คน
ก. 3 คน ข. 5 คน
ค. ไม่เกิน 3 คน ง. ไม่เกิน 5 คน
61. ผู้อนุมัติจัดการศึกษาแก่ครอบครัว คือ
ก. สถานศึกษา
ข. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ค. คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
ง. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
62. หน่วยงานที่ออกหนังสือรับรองหรือหลักฐานการจบการศึกษาแก่ผู้เรียนที่จัดการศึกษาโดยครอบครัว คือ
ก. สถานศึกษา
ข. ครอบครัวที่จัดการศึกษา
ค. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ง. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
63. หน่วยงานที่ออกหลักฐานการศึกษาแก่ผู้เรียนจากศูนย์การเรียน คือ
ก. สถานศึกษา
ข. ศูนย์การเรียน
ค. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ง. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
64. สถานศึกษาประกาศกำหนดให้ผู้สอบเทียบระดับการศึกษายื่นคำร้องขอเทียบระดับการศึกษาได้ตามข้อใด
ก. ไม่น้อยกว่าภาคเรียนละ 1 ครั้ง
ข. ไม่น้อยกว่าปีการศึกษาละ 1 ครั้ง
ค. ไม่น้อยกว่าปีละ 1 ครั้ง
ง. ไม่ได้จำกัดขึ้นอยู่กับความพร้อมขอสถานศึกษา
65. สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการการประเมินเทียบระดับการศึกษากี่คน
ก. 3 คน ข. 5 คน ค. ไม่เกิน 3 คน ง. ไม่เกิน 5 คน
66. ผู้ไม่ผ่านการประเมินสามารถเก็บสะสมผลการประเมินในการขอเทียบระดับ
ต้องเข้ารับการประเมินผ่านครบมาตรฐานการเรียนรู้ระดับการศึกษาตามที่กำหนดในกี่ปี
ก. 2 ปี ข. 3 ปี
ค. 4 ปี ง. 5 ปี
67. ผู้ที่พิจารณาอนุมัติผลการเทียบระดับการศึกษา คือ
ก. หัวหน้าสถานศึกษา
ข. สำนักงานเขตพื้นการศึกษา
ค. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ง. สำนักงานการบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน
68. หลักการเทียบโอน คือ
ก. ยึดหลักการกระจายอำนาจไปสู่สถานศึกษา
ข. คำนึงถึงหลักความยุติธรรมโปร่งใสและมี มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ
ค. พิจารณาเทียบโอนผลการเรียนเพื่อศึกษาต่อ โดยพิจารณารูปแบบการศึกษาและหลักสูตรที่ อยู่ในระดับเดียวกัน
ง. ถูกทุกข้อ
69. การจัดตั้งโรงเรียนประถมศึกษาในชุมชน ต้องมีจำนวนนักเรียนเท่าใด
ก. จำนวนนักเรียนไม่น้อยกว่า 20 คน
ข. จำนวนนักเรียนไม่น้อยกว่า 25 คน
ค. จำนวนนักเรียนแต่ละรายอายุไม่น้อยกว่า 20 คน
ง. จำนวนนักเรียนแต่ละรายอายุไม่น้อยกว่า 25 คน
70. การจัดตั้งโรงเรียนมัธยมศึกษาในชุมชน ต้องมีจำนวนนักเรียนเท่าใด
ก. ชั้นละไม่น้อยกว่า 50 คน
ข. ชั้นละไม่น้อยกว่า 60 คน
ค. ชั้นละไม่น้อยกว่า 70 คน
ง. ชั้นละไม่น้อยกว่า 80 คน
71. การจัดตั้งโรงเรียน ต้องมีที่ดินที่มีหลักฐานอนุญาตให้ใช้จำนวนกี่ไร่
ก. ไม่น้อยกว่า 6 ไร่
ข. ไม่น้อยกว่า 10 ไร่
ค. ไม่น้อยกว่า 20 ไร่
ง. ไม่น้อยกว่า 25 ไร่

72. โรงเรียนที่ตั้งใหม่จะต้องห่างจากโรงเรียนประเภทเดียวกัน กี่กิโลเมตร
ก. ไม่น้อยกว่า 3 กิโลเมตร
ข. ไม่น้อยกว่า 4 กิโลเมตร
ค. ไม่น้อยกว่า 5 กิโลเมตร
ง. ไม่น้อยกว่า 6 กิโลเมตร
73. ใครมีอำนาจพิจารณาอนุญาตการจัดตั้งโรงเรียน
ก. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ข. คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
ค. อ.ก.ค.ศ เขตพื้นที่การศึกษา
ง. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
74. ขั้นตอนแรกในการเลิกสถานศึกษา คือ
ก. ให้คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจัดให้มีการรับฟังข้อคิดเห็นของผู้ปกครอง
ข. ให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานำเสนอคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
ค. ให้สถานศึกษาแจ้งผู้ปกครอง นักเรียนทราบล่วงหน้า
ง. ไม่มีข้อใดถูก
75. พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษาเมื่อใด
ก. 10 มิถุนายน 2546 ข. 11 มิถุนายน 2546
ค. 12 มิถุนายน 2546 ง. 13 มิถุนายน 2546
76. พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 มีผลบังคับใช้เมื่อใด
ก. 10 มิถุนายน 2546 ข. 11 มิถุนายน 2546
ค. 12 มิถุนายน 2546 ง. 13 มิถุนายน 2546
77. ใครคือผู้รับสนองพระบรมราชโองการพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546
ก. พล.อ. ชวลิต ยงใจยุทธ ข. นายบรรหาร ศิลปะอาชา
ค. นายชวน หลีกภัย ง. พ.ต.ท. ทักษิน ชินวัตร
78. คุรุสภา มีชื่ออีกอย่างหนึ่งว่า
ก. สภาครู ข. องค์กรวิชาชีพครู
ค. สมาคมวิชาชีพครู ง. สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
79. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับคุรุสภา
ก. เป็นองค์กรมหาชน
ข. เป็นองค์กรเอกชน
ค. เป็นนิติบุคคล
ง. เป็นนิติบุคคลในกำกับของกระทรวงศึกษาธิการ
80. คุรุสภามีวัตถุประสงค์ คือ
ก. กำหนดมาตรฐานวิชาชีพครู
ข. กำหนดนโยบายและแผนพัฒนาวิชาชีพครู
ค. ส่งเสริมการวิจัยเกี่ยวกับวิชาชีพครู
ง. ถูกทุกข้อ
81. ข้อใดไม่ใช่อำนาจและหน้าที่ของคุรุสภา
ก. กำหนดมาตรฐานวิชาชีพ
ข. ออกใบอนุญาตแก่ผู้ขอประกอบวิชาชีพ
ค. พักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต
ง. ดำเนินงานด้านสวัสดิการแก่ผู้ประกอบวิชาชีพครู
82. รายได้ของคุรุสภามาจาก
ก. เงินอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน
ข. เงินค่าธรรมเนียม
ค. เงินและทรัพย์สินซึ่งมีผู้อุทิศให้
ง. ถูกทุกข้อ
83. อัตราค่าธรรมเนียมการขอขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา คือ
ก. 300 บาท ข. 400 บาท
8. 500 บาท ง. 600 บาท
84. อัตราค่าต่อใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา คือ
ก. 200 บาท ข. 300 บาท
ค. 400 บาท ง. 500 บาท
85. อัตราค่าหนังสือรับรองการขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา คือ
ก. 200 บาท ข. 300 บาท
ค. 400 บาท ง. 500 บาท
86. อัตราค่าหนังสืออนุมัติ หรือวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา คือ
ก. 200 บาท ข. 300 บาท
ค. 400 บาท ง. 500 บาท
87. อัตราค่าใบแทนใบอนุญาต คือ
ก. 200 บาท ข. 300 บาท
ค. 400 บาท ง. 500 บาท


88. ใบประกอบวิชาชีพทางการศึกษามีกี่ประเภท
ก. 1 ประเภท คือ ครู
ข. 2 ประเภท คือ ครู และบุคลากรทางการศึกษา
ค. 3 ประเภท คือ ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา
ง. 4 ประเภท คือ ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และศึกษานิเทศก์
89. คณะกรรมการคุรุสภามีกี่คน
ก. 15 คน ข. 17 คน
ค. 23 คน ง. 39 คน
90. คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมีกี่คน
ก. 15 คน ข. 17 คน
ค. 23 คน ง. 39 คน
91. คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษามีกี่คน
ก. 15 คน ข. 17 คน
ค. 23 คน ง. 39 คน
92. ใคร คือ ประธานกรรมการคุรุสภา
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ข. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ค. เลขาธิการคุรุสภา
ง. ผู้ทรงคุณวุฒิที่คณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง
93. กรรมการคุรุสภามีคุณสมบัติด้านอายุกี่ปี
ก. ไม่ต่ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์ ข. ไม่ต่ำกว่า 25 ปีบริบูรณ์
ค. ไม่ต่ำกว่า 30 ปีบริบูรณ์ ง. ไม่ต่ำกว่า 35 ปีบริบูรณ์
94. คณะกรรมการคุรุสภาที่มาจากผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาที่ดำรงตำแหน่งครู มีคุณสมบัติ คือ
ก. สอนมาไม่น้อยกว่า 10 ปี
ข. ดำรงตำแหน่งอาจารย์ 3
ค. มีวิทยฐานะชำนาญการขึ้นไป
ง. ถูกทุกข้อ
95. คณะกรรมการคุรุสภาที่มาจากผู้บริหารสถานศึกษาต้องมีประสบการณ์สอนและมีประสบการณ์ในตำแหน่งบริหารมาแล้วไม่น้อยกว่ากี่ปี
ก. 3 ปี ข. 5 ปี
ค. 7 ปี ง. 10 ปี

96. อำนาจของคณะกรรมการคุรุสภา คือ
ก. ให้คำปรึกษาและแนะนำแก่คณะกรรมการการมาตรฐานวิชาชีพ
ข. พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์คำสั่งของคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
ค. ให้ความเห็นชอบแผนการดำเนินงานของสำนักงานเลขาธิการคุรุสภา
ง. ถูกทุกข้อ
97. ใครคือ ประธานกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ข. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ค. รัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการคุรุสภา
ง. คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการคุรุสภา
98. คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมีหน้าที่ คือ
ก. พิจารณาออกใบอนุญาตพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาต
ข. กำกับดูแลปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
ค. เสนอแนะคณะกรรมการคุรุสภากำหนดมาตรฐานและจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ
ง. ถูกทุกข้อ
99. ใคร คือ เลขาธิการคุรุสภาคนปัจจุบันชื่ออะไร
ก. นายประเสริฐ งามพันธ์
ข. นายเฉลียว อยู่สีมารักษ์
ค. นายจักรพรรดิ วะทา
ง. นายรุ่ง แก้วแดง
100. ผู้มีหน้าที่ดูแลและรักษาทะเบียนผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา คือ
ก. คณะกรรมการคุรุสภา
ข. คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
ค. สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา
ง. สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา


ลองเฉลยดูนะครับ

1 ความคิดเห็น:

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ขอเฉลยด้วยครับ